บัญชีทรัพย์สิน การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา |
![]() |
![]() |
การจัดทำบัญชีทรัพย์สิน การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา
รายละเอียดในการสัมมนา 1. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 2. การด้อยค่าของสินทรัพย์ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 3. การวางระบบการบริหารบัญชีทรัพย์สินและการวางระบบควบคุม - การตั้งรหัสทรัพย์สิน - การจัดทำบัตรทรัพย์สิน - การตรวจนับทรัพย์สิน - ทรัพย์สินที่มีราคาต่ำแต่ปริมาณมาก - การโอนทรัพย์สินระหว่างฝ่ายหรือระหว่างบริษัท 4. มูลค่าของทรัพย์สินและการตีราคาทรัพย์สิน - ราคาทุนของทรัพย์สินประกอบด้วยอะไรบ้าง - การคำนวณต้นทุนและการกำหนดประเภทของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - การได้มาซึ่งทรัพย์สินจากการเช่าซื้อ ลิสซิ่ง ผ่อนชำระ การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ที่คล้ายกันแตกต่างกัน และการแลกซื้อทรัพย์สิน เพื่อสิทธิประโยชน์ทางภาษี - มูลค่าของทรัพย์สินการตีราคาทรัพย์สินเพิ่มขึ้น และถ้ามีการซ่อมบำรุงจะถือเป็นทรัพย์สินหรือค่าใช้จ่าย - กรณีซื้อทรัพย์สินเป็นเงินตราต่างประเทศจะคำนวณอย่างไร - วิธีการและการเริ่มคิดค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินที่สร้างขึ้นเอง - แนวปฏิบัติเมื่อเกิดการด้อยค่าของสินทรัพย์และการวัดมูลค่าของสินทรัพย์ 5. หลักเกณฑ์ในการกำหนดว่าค่าใช้จ่ายใดถือเป็นทรัพย์สินที่ต้องคิดค่าสึกหรอ หรือคิดค่าเสื่อมราคา และหลักเกณฑ์ใดที่ถือเป็นค่าใช้จ่ายในรอบบัญชีทั้งจำนวน ตามหลักบัญชีและภาษีอากร - ดอกเบี้ยจากการกู้ยืม เพื่อซื้อทรัพย์สิน - การนำทรัพย์สินเข้ามาใช้ในกิจการ - การจำหน่ายทรัพย์สินและการทำลายทรัพย์สิน - ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงทรัพย์สินหรือเคลื่อนย้ายทรัพย์สิน 6. รายจ่ายต้องห้ามของรถยนต์นั่งหรือรถโดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ตามพระราชกฤษฎีกาฉบับที่ 315 7. หลักเกณฑ์ของสรรพากร กรณีการคิดค่าเสื่อมราคา ค่าสึกหรอ ด้วยวิธี DOUBLE DECLINING BALANCE METHOD 8. การบันทึกบัญชีและการเสียภาษีกรณีขายทรัพย์สินที่ยังหักค่าสึกหรอหรือค่าเสื่อมราคาไม่หมด 9. สิทธิพิเศษเพื่อประหยัดภาษีจากกฎหมายใหม่ในการคิดค่าสึกหรอ ค่าเสื่อมราคาของคอมพิวเตอร์ เครื่องบันทึกการเก็บเงิน เครื่องจักรที่ใช้เพื่อการวิจัยและพัฒนา 10. การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล จากดอกเบี้ยการซื้อทรัพย์สินอสังหาริมทรัพย์ ที่ดิน เพื่อใช้ในการประกอบกิจการ
อาจารย์สมชาย วนารักษ์พิทักษ์ ผู้ตรวจสอบบัญชีภาษีอากร (TAX AUDITOR) ประสบการณ์: รองผู้อำนวยการฝ่ายบัญชี บริษัท เอ็มบีเค จำกัด (มหาชน) ที่ปรึกษาและวางระบบบัญชี ในการบริหารงานด้านบัญชีมากกว่า 25 ปี
(รวมเอกสารประกอบการบรรยาย อาหารว่างและอาหารกลางวัน) ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 3% ก่อนภาษีมูลค่าเพิ่ม ยิ่งอบรมมาก ยิ่งเสียภาษีน้อย ค่าอบรมสามารถลงรายจ่ายได้เพิ่มขึ้นถึง 200% |