ปัญหาและข้อควรระวัง ในการจัดทำ และ การเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน |
![]() |
![]() |
ปัญหาและข้อควรระวัง ใน การจัดทำ และการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน ความสำคัญ ในการจัดทำรายงานทาง การเงินมีความสำคัญ และ ต้องระมัดระวังอย่างยิ่ง เพราะถ้าการนำเสนอ รายงานไม่ถูกต้อง หรือเกิดข้อผิดพลาดขึ้น ผู้ทำบัญชี ผู้สอบบัญชี และผู้มีหน้าที่ จัดทำบัญชี (กรรมการหรือเจ้าของกิจการ) ต้องรับผิดชอบต่อ ความผิดพลาดที่เกิดขึ้น สถาบันได้เล็งเห็นถึงความ จำเป็น และความสำคัญ ในเรื่องนี้จึงได้จัดสัมมนาขึ้น เพื่อให้นักบัญชี ได้เกิดแนวคิดและ ระมัดระวังมากขึ้นในการจัดทำและนำเสนองบการเงิน โดยแนวทางการสัมมนา จะเน้นและชี้ประเด็นที่ต้อง ระมัดระวังและการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น {xtypo_info} รายละเอียดในการสัมมนา {/xtypo_info} ปัญหาและข้อควรระวัง ! ในการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน ซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับมาตรฐานการบัญชีฉบับต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1 หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ ( มาตรฐาน ฉบับที่ 11 ) 2 การเสนอข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน ( มาตรฐาน ฉบับที่ 24 ) 3 งบกระแสเงินสด ( มาตรฐาน ฉบับที่ 25 ) 4 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนฯ ( มาตรฐาน ฉบับที่ 30 ) 5 สินค้าคงเหลือ ( มาตรฐาน ฉบับที่ 31 ) 6 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ( มาตรฐาน ฉบับที่ 32 ) 7 ต้นทุนการกู้ยืม ( มาตรฐาน ฉบับที่ 33 ) 8 การบัญชีสำหรับการปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหา ( มาตรฐาน ฉบับที่ 34 ) 9 การนำเสนองบการเงิน ( มาตรฐาน ฉบับที่ 35 ) 10 การด้อยค่าของสินทรัพย์ ( มาตรฐาน ฉบับที่ 36 ) 11 การรับรู้รายได้ ( มาตรฐาน ฉบับที่ 37 ) 12 กำไรต่อหุ้น ( มาตรฐาน ฉบับที่ 38 ) 13 การบัญชีสำหรับเงินทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน ( มาตรฐาน ฉบับที่ 40 ) 14 การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลสำหรับเครื่องมือทางการเงิน ( มาตรฐาน ฉบับที่ 48 ) วิทยากร อาจารย์สุพัฒน์ อุปนิกขิต ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ที่ปรึกษาและวางระบบบัญชี มีประสบการณ์ในการบริหารงานด้านบัญชีมากกว่า 35 ปี กำหนดการสัมมนา หลักสูตรนี้ รุ่นต่อไปยังไม่มีกำหนดเปิด |