การคำนวณและการหักภาษี ณ ที่จ่ายเกี่ยวกับ เงินเดือน ค่าจ้างและประโยชน์เพิ่มอื่นๆ ที่เกี่ยวกับสวัสดิการพนักงาน |
![]() |
![]() |
การคำนวณและการหักภาษี ณ ที่จ่าย เกี่ยวกับ เงินเดือน ค่าจ้างและประโยชน์เพิ่มอื่นๆ ที่เกี่ยวกับสวัสดิการพนักงาน
ผู้ทำบัญชี / ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต นับชั่วโมง อื่นๆ 6 ช.ม.
เหมาะสมสำหรับ - เจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคล - ผู้จัดการฝ่ายบุคคล - เจ้าหน้าที่ / ผู้จัดการฝ่ายบัญชี - ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำค่าจ้าง/เงินเดือน
รายละเอียดในการสัมมนา 1) วิธีการคำนวณและการปรับปรุงภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินเดือน ค่าจ้าง ที่ถูกต้องตามหลักสรรพากร 2) วิธีการคำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่ายกรณี:- - การจ่ายบำเหน็จ - เงินชดเชยจากการเลิกจ้าง - เกษียณอายุ - เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ - ทุพพลภาพ - กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ 3) การยกเว้นภาษีเงินได้จากการให้ออกจากงานตามกฎกระทรวง 4) ปัญหาภาษีหัก ณ ที่จ่ายจากเงินชดเชยตามคำพิพากษาของศาล 5) การพิจารณาประโยชน์เพิ่ม อันเนื่องจากสวัสดิการพนักงานต่างๆ อาทิ:- - ออกค่าเช่าบ้านให้/มีบ้านพักให้อยู่โดยไม่เสียค่าเช่า - เลี้ยงอาหารกลางวันพนักงาน - ให้เครื่องแบบ/ให้ผ้า/ให้ค่าตัดเย็บ - บริการรถรับ-ส่ง/ให้รถประจำตำแหน่ง/ให้ค่าพาหนะ/ค่าน้ำมัน - ค่าเบี้ยเลี้ยงพนักงาน - ให้ทุนการศึกษาพนักงาน/บุตร - ออกค่ารักษาพยาบาล ค่าเบี้ยประกันชีวิตให้พนักงาน/บุตร/บิดามารดา - ออกภาษีให้พนักงาน - สิทธิในการซื้อสินค้าของบริษัทในราคาพิเศษ 6) การคำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่าย จากค่าจ้างแรงงาน 7) ข้อแตกต่างและเกณฑ์การพิจารณาเงินได้ ตามมาตรา 40(1) กับ 40(2) 8) ข้อกำหนดและหลักเกณฑ์การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสำหรับเงินได้ที่ จ่ายในการซื้อหรือเช่าซื้ออสังหาริมทรัพย์ตามหลักเกณฑ์ใหม่ล่าสุด 9) แนวปฏิบัติการหักภาษี ณ ที่จ่าย ของคนต่างด้าวที่เข้ามาทำงานในประเทศไทย และคนไทย ที่ไปทำงานในต่างประเทศ 10) กรณีนายจ้างไม่ได้หักภาษี ณ ที่จ่ายหรือหักผิดพลาดจะมีแนวทางแก้ไขอย่างไร 11) การยกเว้นเงินได้กรณีต่างๆ และค่าลดหย่อนที่สรรพากรยกเว้นให้ 12) กรณี หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายสูญหายจะออกใบแทนได้หรือไม่ 13) แบบหนังสือรับรองหักภาษี ณ ที่จ่ายแบบใหม่พร้อมข้อผ่อนปรนของกรมสรรพากร
วิทยากร ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายภาษีอากร กรมสรรพากร กำหนดการสัมมนา
หลักสูตรนี้ รุ่นต่อไปยังไม่มีกำหนดเปิด |