การวิเคราะห์ การใช้ข้อมูลทางบัญชีและการเงิน สำหรับผู้บริหาร / Financial Statements and Financial Analysis พิมพ์

                                                                 

การวิเคราะห์ การใช้ข้อมูลทางบัญชีและการเงิน

สำหรับผู้บริหาร

Financial Statements and Financial  Analysis

 

ความสำคัญ

          เครื่องมือทางการบริหารที่สำคัญของผู้บริหาร ย่อมหนีไม่พ้นข้อมูลทางการบัญชีไม่ว่าจะเป็น งบแสดงฐานะการเงิน งบกำไรขาดทุน นอกจากนี้ยังมี งบประมาณ งบประมาณเงินสด ตลอดจน งบกระแสเงินสด โดยทั้งหมดนี้เป็นงบที่ใช้ในการวางแผนและตัดสินใจทางธุรกิจไม่ว่าจะเป็นการบริหารสินค้าคงเหลือ การขยายกิจการ วางแผนเรื่องเครื่องจักรใหม่หรือพัฒนาต่อยอดด้านเทคโนโลยี หรือแม้แต่การพัฒนาบุคคลากร

        สถาบันฯ ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดสัมมนาขึ้น โดยหวังให้ ท่านผู้บริหาร เจ้าของกิจการ และเจ้าหน้าที่ ที่ไม่ใช่นักบัญชี มีความเข้าใจในหลักการบัญชีเบื้องต้น สามารถอ่านและวิเคราะห์ข้อมูลทางบัญชี-การเงินได้ ที่สำคัญจะทำให้ทราบถึงฐานะการเงินของธุรกิจ ผลการดำเนินงานและกระแสเงินสดที่หมุนเวียนในธุรกิจ สามารถวางแผนและตัดสินใจทางธุรกิจได้ทันต่อเหตุการณ์ ซึ่งจะทำให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการองค์กร

ผู้ที่ควรเข้าร่วมสัมมนาหลักสูตรนี้

                ผู้บริหาร                       - เจ้าของกิจการ

                 - ผู้อำนวยการ/ผู้จัดการ    - หัวหน้างานฝ่ายหรือแผนกต่าง   

                 - ผู้วิเคราะห์สินเชื่อ           - เจ้าหน้าที่ทั่วไป

หัวข้อสัมมนา

1. ความสำคัญของข้อมูลทางการบัญชีและการเงินสำหรับผู้บริหาร

2. งบการเงินที่ผู้บริหารควรสนใจ

            - งบแสดงฐานะการเงิน (Balance Sheet)

            - งบกำไรขาดทุน (Income Statement)

            - งบกระแสเงินสด (Statement of Cashflows)

            - หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน

3. การเปรียบเทียบงบการเงิน เพื่อประเมินประสิทธิภาพกิจการ

            - การวิเคราะห์แนวนอน (Horizontal Analysis)

            - การวิเคราะห์แนวดิ่ง (Vertical Analysis)

            - การวิเคราะห์แนวโน้ม (Trend Analysis)

            - Common – Sized Statement

4. การวิเคราะห์อัตราส่วน (Ratios Analysis)

    เพื่อประเมินสมรรถภาพในการบริหารธุรกิจ ด้านต่างๆของธุรกิจ

            - อัตราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratios)

            - อัตราส่วนสมรรถภาพในการหากำไร (Profitability Ratios)

            - อัตราส่วนความสามารถในการชำระหนี้ (Solvency Ratios)

 

วิทยากร

ม.ล.วรกัลยา วัฒนสินธุ์

MBA Indiana University U.S.A.

บัญชีมหาบัณฑิต และ บัญชีบัณฑิต (เกียรตินิยมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ที่ปรึกษาด้านการบัญชีหน่วยงานรัฐวิสาหกิจและบริษัทเอกชน

อาจารย์พิเศษ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

กำหนดการสัมมนา

เวลา 09.00-16.00 น.

รุ่นที่ 33

วันพฤหัสบดีที่ 15 กุมภาพันธ์ 2567

โรงแรม จัสมิน ซิตี้ (สุขุมวิท 23) / ZOOM

รุ่นที่ 34

วันพฤหัสบดีที่ 18 เมษายน 2567

โรงแรม จัสมิน ซิตี้ (สุขุมวิท 23) / ZOOM

รุ่นที่ 35

วันพฤหัสบดีที่ 20 มิถุนายน 2567

โรงแรม แรมแบรนดท์ (สุขุมวิท 18) / ZOOM

รุ่นที่ 36

วันพฤหัสบดีที่ 22 สิงหาคม 2567

โรงแรม จัสมิน ซิตี้ (สุขุมวิท 23) / ZOOM

รุ่นที่ 37

วันพฤหัสบดีที่ 17 ตุลาคม 2567

โรงแรม จัสมิน ซิตี้ (สุขุมวิท 23) / ZOOM

รุ่นที่ 38

วันพฤหัสบดีที่ 19 ธันวาคม 2567

โรงแรม จัสมิน ซิตี้ (สุขุมวิท 23) / ZOOM

อัตราค่าสัมมนา

3,700 + VAT 259 = 3,959 บาท (ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 111 บาท)

อัตราค่าสัมมนาผ่าน ZOOM

2,700 + VAT 168 = 2,568 บาท (ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 72 บาท)

หักภาษี ณ ที่จ่ายได้ 3% จากราคาก่อนภาษีมูลค่าเพิ่ม

ยิ่งอบรมมาก ยิ่งเสียภาษีน้อย ค่าอบรมสามารถลงรายจ่ายได้เพิ่มขึ้นถึง 200%